|
|
|
อาชีพหลักของประชาชนในตำบล ได้แก่ การทำนา ทำไร่ ทำสวน พืชที่ปลูก ได้แก่ มันสำปะหลัง ข้าวโพดฝักอ่อน ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วลิสง ถั่วฝักยาว กระเทียม มะเขือเทศ หอมแดง ฯลฯ |
|
|
|
|
|
สภาพโดยทั่วไป ลักษณะพื้นที่อาศัย เป็นพื้นที่ราบสูงเชิงเขา มีความสูงเฉลี่ย 500 – 1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเลมีป่าไม้และภูเขาล้อมรอบ พื้นที่ส่วนใหญ่ของตำบลบ้านค่า เป็นพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ตุ๋ยฝั่งขวา และป่าแม่ตุ๋ยฝั่งซ้าย มีลักษณะเป็นป่าเสื่อมโทรม เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยและพื้นที่เกษตรกรรม โดยมีแม่น้ำและภูเขาขั้นกลางระหว่างหมู่บ้านด้านใน 4 หมู่บ้าน และด้านนอก 4 หมู่บ้าน |
|
|
ทิศตะวันตกของตำบลจะเป็นที่ราบสูงและภูเขา ทิศตะวันออกจะเป็นที่ราบ ที่ราบสูงและภูเขาเช่นกัน ลักษณะของพื้นที่โดยทั่วไปแบ่งเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้ |
|
ที่ราบน้ำท่วมถึง มีพื้นที่ไม่มากนัก สำหรับ 4 หมู่บ้านใน ซึ่งจะมีพื้นที่ควบคู่ไปกับลำห้วยแม่ค่อม มีความยาว 5 กิโลเมตร กว้าง 1 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 2,000 ไร่ |
|
ที่ราบค่อนข้างเรียบ เป็นพื้นที่ที่มีความลาดชันประมาณ 0.2% ซึ่งอยู่ถัดจาก พื้นที่น้ำท่วมถึง เป็นพื้นที่เหมาะสำหรับการทำนา มีพื้นที่ประมาณ 3,500 ไร่ |
|
ที่ลาดเนินเขา สภาพพื้นที่มีลักษณะเป็นเนินลูกคลื่น มีความลาดชันประมาณ 2-6% เหมาะสำหรับการปลูกพืชไร่ มีพื้นที่ประมาณ 10,000 ไร่ |
|
ที่เนินเขา สภาพพื้นที่มีลักษณะเป็นเนินเขา มีความลาดชันประมาณ 6-10% ซึ่งอยู่ถัดจากพื้นที่ลาดเนินเขา มีพื้นที่ประมาณ 60,000 ไร่ |
|
|
|
|
|
แบ่งออกเป็น 3 ฤดู คือ |
|
ฤดูร้อน เริ่มประมาณ เดือนมีนาคม จนถึงกลางเดือนพฤษภาคม |
|
ฤดูฝน เริ่มประมาณ กลางเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกันยายน |
|
ฤดูหนาว เริ่มประมาณ เดือนตุลาคม จนถึงเดือนกุมภาพันธ์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ |
|
มีวัด จำนวน 6 แห่ง ได้แก่ |
|
|
วัดสบค่อม |
|
|
วัดค่ากลาง |
|
|
วัดทุ่งโจ้ |
|
|
วัดค่าหลวง |
|
|
วัดห้วยเป้ง |
|
|
วัดทุ่งฝาง |
|
มีสำนักสงฆ์ จำนวน 2 แห่ง |
|
|
สำนักสงฆ์ม่อนตั้งข้าว |
|
|
สำนักสงฆ์บ้านใหม่รุ่งเจริญ ม.8 |
|
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
|
 |
|
|
|
|
งานประเพณีตานข้าวใหม่ (เดือนมกราคมของทุกปี) |
|
งานประเพณีสงกรานต์ ซึ่งถือว่าเป็นวันขึ้นปีใหม่เมือง (เดือนเมษายนของทุกปี) |
|
งานรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ (วันสงกรานต์เดือนเมษายนของทุกปี) |
|
ประเพณีเวียนเทียนวันวิสาขบูชา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 (เดือนพฤษภาคมของทุกปี) |
|
|
|
|
ประเพณีเข้าพรรษา ซึ่งตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 8 (เดือนกรกฎาคมของทุกปี) |
|
|
ประเพณีออกพรรษา ซึ่งตรงวันวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 (เดือนตุลาคมของทุกปี) |
|
|
งานตานก๋วยสลากภัตร (เดือนตุลาคมของทุกปี) |
|
|
งานเดือนยี่เป็งลอยกระทง (เดือนพฤศจิกายนของทุกปี) |
|
|
งานประเพณีสรงน้ำพระเจ้าต๋นหลวง บ้านค่ากลาง ม.2 |
|
|
งานประเพณีสรงน้ำพระเจ้าขนุนวัดทุ่งโจ้ ม.3 |
|
|
งานประเพณีสรงน้ำพระธาตุ และพระเจ้าโขงบ้านค่าหลวง ม.4 |
|
|
งานประเพณีสรงน้ำพระธาตุวัดม่อนตั้งข้าว บ้านห้วยเป้ง ม.5 |
|
|
งานประเพณีสรงน้ำพระธาตุทันใจ๋วัดทุ่งฝาง ม.6 |
|
|
งานประเพณีสรงน้ำพระศิลา น้ำบ่อส้ม บ้านต้นฮ่างพัฒนา ม. |
|
|
ประเพณีบั้งไฟบ้านค่าหลวง และบ้านห้วยเป้ง |
|
ภูมิปัญญาที่มีลักษณะเด่น เช่น การเกษตรแบบดั่งเดิม สมุนไพร เป่ารักษาโรค และภูมิปัญญาด้านการจักสานเครื่องมือเครื่องใช้ รวมกลุ่มจักสานทางมะพร้าว บ้านห้วยเป้ง ม.5 |
|
ภาษาถิ่น ภาษาพื้นเมือง |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
- |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลบ้านค่า |
|
โรงเรียนระดับประถมศึกษา |
จำนวน |
4 |
แห่ง |
|
- |
โรงเรียนบ้านสบค่อม |
|
- |
โรงเรียนวัดค่ากลาง |
|
- |
โรงเรียนวัดทุ่งโจ้ |
|
- |
โรงเรียนทุ่งฝางวิทยา |
|
|
|
โรงเรียนมัธยมศึกษา |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
- |
โรงเรียนทุ่งฝางวิทยา |
|
|
|
|
ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน 8 แห่ง (หมู่ที่ 1-8) |
|
ศูนย์สาธิตการตลาด/ศิลปะ/หัตถกรรม จำนวน 1 แห่ง (บ้านห้วยเป้ง) |
|
หอกระจายข่าว จำนวน 8 แห่ง (หมู่ที่ 1-8) |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล |
จำนวน |
2 |
แห่ง |
|
- |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรัตนานุรักษ์ |
|
- |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านค่าหลวง |
|
ศูนย์รัตนานุรักษ์ (บำบัดผู้ติดยา) |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ |
ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|